去泰国寺庙参观过多的小伙伴一定看到过中国元素的石雕吧,当时有没有疑惑道为啥纯纯的泰国皇家寺庙里会出现中国石雕像呢?有人说那是古时候中泰帆船贸易的“压舱石”,也有人说那是因为拉玛三世特别喜欢中国的石雕艺术才把它们摆放到寺庙的各个角落里,还衍生出了 “อับเฉา”这个单词,今天就让泰国学者给大家简单解释一下这个现象的由来吧:

ตามวัดหลวงเช่น วัดเทพธิดาราม วัดราชโอรส หรือ วัดพระเชตุพน (วัดโพธิ์) เป็นต้น เราจะพบประติมากรรมจีนทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ที่ประดับตามวัด
在一些皇家寺庙里,例如Wat Thepthidaram寺、王子寺、卧佛寺等,我们可以随处见到大大小小的中国石雕像。

แล้วมักจะเข้าใจผิดกันมาตลอดว่า ประติมากรรมศิลาจีน เหล่านี้ คือ “อับเฉา” ที่ใช้ถ่วงเรือสำเภาในรอบขากลับ แต่ที่จริงแล้วน่าจะเป็นสินค้าที่ตอบสนองต่อชนชั้นนำ
人们一直误以为,这些中国石雕是“压舱石”,是为了在航行返途中加重帆船重量。但实际上,它们应该是回赠给统治阶级的货物。

มีนักวิชาการจากภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร คือ ผศ. ดร.อชิรัชญ์ ไชยพจน์พานิช ได้แก้ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับความหมายของคำว่า “อับเฉา” ไว้ว่า
泰国艺术大学考古学院艺术史学者,助理教授Achirat Chaiyapotpanit博士解答了对于“อับเฉา”一词的误解:

“ความหมายของอับเฉาเรือในระบบการค้าสำเภาของจีน มิได้หมายถึง สิ่งของที่ใช้สำหรับถ่วงเรือเป็นหลัก แต่หมายถึงสินค้าทั่วไปที่เรือนำมาขาย หรือซื้อกลับไป โดยสินค้าเหล่านั้นทำหน้าที่ถ่วงน้ำหนักเรือไปในตัวด้วย
中国帆船贸易体系里的“อับเฉาเรือ”不是指加重船体的物品,而是指船运来贩卖或是买回去的普通商品。这些商品也带有加重船身的功能。

ทั้งนี้คำว่าถ่วงเรือ เรียกว่า “ยาชาง” (ยา แปลว่า ถ่วง ชาง แปลว่า เรือ) ในภาษาจีนกลาง ส่วนภาษาแต้จิ๋วเรียกว่า “เอียบฉึง” ซึ่งคำหลังน่าจะมีการเพี้ยนเสียงจนกลายเป็นคำว่า อับเฉา
综上,“ถ่วงเรือ”一词在普通话里称为“压舱”(压是指使加重,舱是指船),而在潮汕话里叫做“เอียบฉึง”。后面一个叫法可能是发音走调了,最终演变成为“อับเฉา”一词。

หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ สินค้าที่เรียกว่าอับเฉาเรือเหล่านี้มีหน้าที่หลักคือไว้ค้าขายแสวงหาผลกำไร หรือเพื่อเจ้าของสำเภาไว้ใช้ตามประโยชน์ของตน ส่วนการถ่วงน้ำหนักเรือกลายเป็นหน้าที่รอง”
另一种说法是,那些称为“อับเฉาเรือ”的货物主要作用是留着卖了赚取利润或者是给帆船主自己用的,而加重船舱重量就变成次要的作用了。

好啦,下次再去泰国旅游的时候就可以给小伙伴们解释这些中国元素满满的石雕像是咋回事儿啦,希望对你有帮助哦,喜欢的话点赞分享再看,你最好看啦~~~

 

声明:本文由沪江泰语编译整理,素材来自silpa-mag,未经允许不得转载。如有不妥,敬请指正。