打游戏是我们很多人的日常,也是大家每天都会做的事情,但是打游戏的泰文你真的会说嘛?甚至连很多泰国人都搞不清楚到底要怎么写哦!今天我们就来看看争论的点到底在哪里!

博主是这样提问的:
ตามหัวข้อกระทู้อ่ะครับ บางทีก็เห็นเขียนว่าเกมบางทีก็เห็นเป็นเกมส์บ้าง ตกลงคำไหนที่ถูก
标题上有时候写的是“เกม”,有时候又写的是“เกมส์”,到底哪个词语是对的?
เกม/เกมส์ที่ว่านี้หมายถึงเกมส์คอมพิวเตอร์,วีดีโอเกมส์ ช่วยไขข้อข้องใจหน่อยครับ
เกม/เกมส์这个词指的是电脑游戏、视频游戏,可以帮助我解答一下吗?

答案1:(同意เกมส์)
เกมคอมพิวเตอร์ เกมคอนโซล เกมออนไลน์ ซีเกมส์ เอเชี่ยนเกมส์
电脑游戏、主机游戏、网络游戏、东运会、亚运会

答案2:
เกม / game = เกมเดียว
เกมส์ / games = หลายเกมส์ เพราะเติม "s"   
เกม /game=一个游戏
เกมส์ / games =很多游戏,因为加了“s”
55555555555555

答案3:
ทับศัพท์มาจากอังกฤษ ไม่มีผิดไม่มีถูกมั้ง
แต่ถ้าจะยึดหลักภาษาไทย  ก็ไปดูเอาว่า ราฏบัณฑิต เขามี ส์ หรือเปล่าแค่นั้น
都是英文音译,没有谁错谁对,如果坚持要用泰语的话,就去看看皇家学会网站上有没有ส์

答案4:
ตามหลักแล้วทับศัพท์ภาษาอังกฤษ ถ้าไม่ใช่ชื่อ จะเป็นรูปเอกพจน์ตลอดนะ
ไม่งั้นก็คงมีคำว่า ทีวีส์ แอพส์ คอนโซลส์ คอมพิวเตอร์ส์ สมาร์ทโฟนส์ เว็บส์ ฯลฯ แล้ว
คำว่าเกมถ้าเป็นรูปพหูพจน์มันจะหมายถึงพวกหกรรมกีฬาอย่างซีเกมส์อ่ะ
都是英文音译的单词,如果不是名字的话,都是单数形式的,要不然就会有 ทีวีส์ แอพส์ คอนโซลส์ คอมพิวเตอร์ส์ สมาร์ทโฟนส์ เว็บส์(tvs、apps、Consoles、Computers、 Smartphones、 Webs)等词了。เกม作为复数形式指的是东运会这样的体育赛事。

答案5:
เหมือนเคยได้ยินว่า
เกม คือ เกมคอมพิวเตอร์ ที่เล่นกันทั่วๆ ไป 
เกมส์ คือ พวกมหกรรมการแข่งกีฬาต่างๆ เช่น เอเชียนเกมส์ พาราลิมปิกเกมส์  
好像曾经听到过:เกม是电脑游戏这种普通的游戏,เกมส์是各种体育赛事,比如亚运会、残运会等。

大神登场:
คำภาษาต่างประเทศที่เรานำมาใช้ในภาษาไทย ทั้งพูดและเขียนกันจนติดแล้ว คำหนึ่ง ก็คือคำว่า “เกม” ซึ่งมักเป็นเรื่องเกี่ยวกับการแข่งขันกีฬา เช่น เอเชียนเกม โอลิมปิกเกม ปัญหาก็มีอยู่ที่ว่าคำว่า “เกม” ในกรณีเช่นนี้ควรจะมี ส การันต์ด้วยหรือไม่ เพราะภาษาอังกฤษจะใช้ว่า games มีตัว s ด้วย เมื่อเราถอดออกมาก็น่าจะมี ส การันต์ด้วย และเราก็มักจะพบตามป้ายโฆษณาว่ามี ส การันต์แทบทั้งนั้น
我们从外国拿来用在泰语中的词汇,说法和写法都已经固化了,一个词汇就是“เกม”,常用于体育比赛中,例如,亚运会、奥运会,问题在于“เกม”这个词在这样的情况下,是不是应该加ส์词尾,因为英语中会用games,有一个s,那我们拿来用之后也应该有ส词尾,而且我们也往往在广告牌上看到带ส์词尾的写法。

ความจริงแล้วในการถอดคำภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะภาษาฝรั่งมาเป็นภาษาไทยนั้น เรามิได้คำนึงถึงว่าคำนั้นจะเป็นเอกพจน์หรือพหูพจน์ เมื่อถอดมาแล้ว เราใช้เป็นรูปเอกพจน์ทั้งนั้น  เพราะในภาษาไทย คำที่ใช้เป็นเอกพจน์หรือพหูพจน์เราเขียนอย่างเดียวกัน  ถ้าต้องการให้รู้ว่าเป็นพหูพจน์ก็ต้องอาศัยคำแวดล้อมเข้าช่วย เช่น เด็กพวกนั้น  เด็ก ๒ คน เราไม่ได้เขียนว่า “เด็กส์” มี ส การันต์ อย่างผู้ที่ชอบเขียนผิด ๆ ทำให้เกิดภาษาวิบัติอยู่สมัยหนึ่ง โดยมี ส การันต์ คำไทย เช่น ซ่าส์ ยากส์ ฯลฯ  ถ้าซ่ามาก หรือยากมาก ก็มี ส การันต์หลาย ๆ ตัว แล้วแต่ว่าจะซ่าหรือยากมากแค่ไหน   คำว่า “ฟุต” ในสมัยหนึ่ง ถ้าหากเป็นพหูพจน์ ท่านเขียนว่า “ฟิต” ก็มี เช่น สูง ๘ ฟิต  แต่ในปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นกี่ฟุตก็ใช้ “ฟุต” ในรูปเอกพจน์ทั้งนั้น
其实转录外来词的时候,尤其是西方语言转为泰语,我们没有考虑这个词是单数还是复数,我们都用单数,因为泰语不分单复数,如果要表达复数,就要借助其他的词语来帮忙,例如“这些孩子”“2个孩子”,我们不是写成“孩子s”,一些喜欢错用泰语的人,有段时间简直造成了语言的灾难,用ส์给泰语词汇结尾,如,刺痛s、难s,如果刺痛严重,或者是非常难,就有好多个ส์放在结尾,取决于到底有多痛、有多难。“ฟุต”这个词有段时间,如果有复数的话,是写作“ฟิต”的,比如“有8英尺高”,而现在不管是几英尺都用“ฟุต”单数。

(虽然 “ซ่าส์ 刺痛s 、ยากส์ 难s”造词有误,但往往这些网络用语混乱,也造就了某种沟通上的流行)



คำว่า “เกม” ที่เรานำมาใช้ในภาษาไทยนั้น มีทั้งที่เป็นคำนามและคำกริยา เด็ก ๆ เดี๋ยวนี้รู้จักคำว่า “เกม” กันทั่วไปแล้ว เพราะตามโรงเรียนต่าง ๆ มักมีเกมต่าง ๆ ให้นักเรียนเล่น ในปัจจุบันคำว่า “เกม” เรานำไปใช้กับเรื่องต่าง ๆ มากมาย ทางการเมืองก็เอาไปใช้ เช่น “เกมการเมือง” ทางกีฬาก็ใช้เช่น “เกมกีฬา” ทั้งนี้ก็เพื่อให้ทราบว่าเป็นเกมทางด้านไหนนั่นเอง
“เกม”这个词,我们把它拿来用在泰语中,既是名词也是动词,孩子们现在已经对“เกม”这个词有了一般性的认识,因为各种学校常常都会有很多游戏让学生们参与,现在“เกม”一词可以用在很多地方,政治上可以有“政治游戏”,体育上可以有“体育竞赛”,这一类是为了让大家清楚是哪方面的游戏。

คำว่า “เกม” นี้ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้เก็บไว้แล้ว โดยไม่มี ส การันต์ และได้ให้ความหมายไว้ดังนี้“เกม น. การแข่งขัน, การเล่นเพื่อความสนุก, ลักษณนามเรียกการแข่งขันซึ่งหมดลงคราวหนึ่ง ๆ เช่น บิลเลียดเกมละเท่าไร เล่น ๓ เกม. (ปาก) ก. สิ้นสุด, จบ, เช่น เรื่องนี้เกมกันแล้ว. (อ. game).
“เกม”这个词在1982年版的皇家学院词典上,是没有 ส์ 的,并给出了这样的释义:“เกม ,名词,比赛, 为了获得趣味而游戏,一段时间内结束的比赛,如,台球一场多少钱?玩3场。เกม (口语),结束、终结,如,这件事结束了。”

ขอให้สังเกตไว้ด้วยว่าคำว่า “เกม” ที่ใช้เป็นกริยานั้น ในพจนานุกรมท่านยังไม่ยอมรับเต็มรูป ยังให้เป็นเพียงภาษาปากอยู่ ยังไม่ควรนำมาใช้เป็นภาษาเขียน โดยเฉพาะในหนังสือราชการ แต่ถ้าในหนังสือพิมพ์ นิตยสาร หนังสือนวนิยาย หรือหนังสืออ่านเล่นทั่ว ๆ ไป ก็ใช้ได้ ภาษาปากเมื่อใช้ไปนาน ๆ เข้า บางทีท่านก็อาจเลื่อนฐานะเป็นภาษาที่ใช้เป็นทางการได้เหมือนกัน.
请注意,“เกม”一词作动词,在字典中也没有多种形式,只有口语形式,还不能够在书面语中使用,尤其是政府书籍中,但如果报刊、杂志、小说或普通的休闲书籍中,使用了很长一段时间的口语,有时候也可以升级为书面语。

现在明白了吧,以后可不能乱用哦~
 声明:本文由沪江泰语编译整理,素材来自pantip等网站,未经允许不得转载。如有不妥,敬请指正。